วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2550

Hilary Ann Duff
















Activités Professionnelle

Les débuts

Hilary Ann Lisa Duff commence à tourner dans des spots publicitaires dès l'âge de 6 ans,



influencée par sa sœur qu'elle considère, dit-elle, comme modèle. À l'âge de 10 ans, elle obtient


son premier grand rôle en jouant la sorcière Wendy dans Casper et Wendy, suite du long-

métrage Casper avec Christina Ricci directement sortie en vidéo. Il lui faut cependant attendre



2001 pour se faire remarquer dans une audition et décrocher le rôle principal de la série


télévisée Lizzie McGuire, produite par Disney. La série de Disney Channel est un véritable


succès international, et lui apporte une vraie reconnaissance. Parallèlement au tournage des


trois saisons (soit 65 épisodes), puis du film concluant la série, Hilary Duff entame une carrière


musicale et cinématographique.












Carrière musicale


En tant que vedette de Disney Channel, Hilary Duff tourne également dans le téléfilm Cadet


Kelly, de la collection Disney Channel Original Movie, aux côtés de Christy Carlson Romano, en


2002. L'année suivante, elle obtient son premier grand rôle au cinéma dans Cody Banks : agent


secret (avec Frankie Muniz, héros de Malcolm) puis dans Treize à la douzaine. Comme


Cendrillon, où elle côtoie Chad Michael Murray rencontre également un beau succès aux États-

Unis (66 millions de dollars de recettes internationales).

Après une apparition dans la série Le Monde de Joan (dans laquelle sa sœur Haylie apparaît


également), et un premier rôle dramatique dans le film Trouve ta voix (Raise your voice) , elle


retrouve en 2005 toute l'équipe de Treize à la douzaine. Cependant, Treize à la douzaine 2 ne


connaît pas le succès de son prédécesseur. Pour ces deux films, ainsi pour The Perfect Man,


Hilary Duff se voit nommée aux Razzie Awards. Il en est de même après sa performance dans


Material girls, où elle joue avec sa sœur Haylie Duff, qui n'engrange par ailleurs que 15 millions



de dollars de recettes internationales. L'enregistrement de son album Dignity l'éloigne par la


suite des plateaux de tournage.




วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2550

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550

คำศัพท์และการสับ(ไพ่)แบบฝรั่งเศส


คำศัพท์และการสับ(ไพ่)แบบฝรั่งเศส

การสับไพ่แบบฝรั่งเศส

1. ก่อนอื่นต้องให้สันไพ่ด้านยาวทำมุมตั้งฉากกับฝ่ามือซ้าย นิ้วชี้ กลาง นาง ก้อย จับด้านหลังไพ่ ส่วนหน้า ไพ่หันเข้าหานิ้วโป้งพร้อมทั้งกดด้านบน


2. ส่วนมือขวาจับไพ่บางส่วนด้านขวามือสุด แล้วยกขึ้น เพื่อจะทำการสลับไพ่


3. ย้ายมือขวาที่ถือไพ่ในข้อ 2 มาด้านซ้ายสุด แล้วแยกนิ้วขวาที่ประคองไพ่ออก เพื่อจะได้ปล่อยไพ่จากมือลงมาให้ไพ่ไปซ้อนด้านหน้า (ใกล้หัวแม่มือซ้าย) จากขั้นนี้เราสามารถจะหยิบไพ่จากหน้าหรือหลังก็ได้ตามแต่ถนัด แล้วขยับมือขวาและปล่อยไพ่ไปหน้า-หลัง ทำซ้ำเรื่อยๆ 2 และ 3 (สังเกตว่า วิธีแบบไทยจะสับไพ่ขึ้นลง ขึ้นลง แต่วิธีฝรั่งเศสไปหน้า-หลัง และวางไพ่ตามแนวยาวตั้งฉาก) อธิบายยากจังแฮะ

ดูรูปไปพลางนะครับ วาดอาจจะไม่สมจริงนักแต่คงพอช่วยได้ ตั้งไพ่ให้ตั้งฉากก่อนนะ ตำแหน่งลูกศร คือ ทิศทางที่มือขวาขยับไพ่ครับ และ้เส้นสีดำ คือ ทิศทางมือขวาที่จับไพ่ ส่วนเส้นสีน้ำตาล แทนการจับด้วยมืิอซ้าย
ผมคิดเอาเองว่า การสับแบบไทยก็เพื่อป้องกันไม่ให้ใครเห็นหน้าไพ่ และ้ง่ายในการสับไพ่จำนวนน้อยๆ เช่น มาตรฐาน 52 ใบ ส่วนแบบฝรั่งเศส ง่ายในการสับไพ่จำนวนเยอะๆ ส่วนอื่นๆถ้าใครคิดออก ช่วยวานบอกกระผมหน่อยนะครับเฮ้อ! อธิบายการจับไพ่ไปและวาดรูปไปตะกี้ก็็หัวเราะตัวเอง กระผมไปหยิบสำรับไพ่มาทดลองกันเลย แล้วการวาด ก็วาดยากจริงๆ ชักมึน! อยากจะพยายามให้ผู้อ่านเห็นภาพ -_-" แต่ทำได้แค่นี้ ฮ่าๆ ท่านผู้อ่านจะจินตนาการ ออกมั๊ยน๊อ คนที่เคยเห็นของจริงก็คงหมดปัญหา ส่วนคนที่ยังไม่เคยเห็นวิธีการจริงๆ ลองหยิบสำรับมาลองเล่นดู นะครับ ฮี่ๆ แล้วลองดูว่าแบบไหนจับถนัดกว่ากัน

การสับไพ่ก็เล่าไปแล้ว แล้วคำที่ใช้เรียกดอกไพ่และสัญลักษณ์ต่างๆล่ะ เรียกว่าอะไรกันมั่ง

ขอเกริ่นคร่าวๆของ ไพ่มาตรฐาน ก็ที่เราๆท่านๆ รู้จักกันดีครับ 52 ใบ ประกอบด้วย 1-10 J Q K อย่างละ 4 ใบ สำหรับ ดอกจิก, หลามตัด, โพธิ์แดง, โพธิ์ดำคราวก่อนไปสังสรรค์กับเพื่อนๆ เกมไพ่ที่ผมแนะนำใ้ห้เพื่อนๆฝรั่งเศสเล่น คือ เกมเบสิคของคนไทย เกมจับหมู เกมสลาฟ (หรือเกมเอสคลาฟในภาษาฝรั่ั่งเศส) เกมป๊อกเด้ง แล้วกระผมก็ต้องอธิบายกติกาการเล่นใ้ห้เพื่อนๆผม ชี้มั่ง หยิบไพ่มาเป็นตัวอย่างมั่ง มั่วไปมั่วมา พอจะนึกอธิบายไพ่ตัวสำคัญๆ ของเกมจับหมู ก็นึกไม่ค่อยจะออกครับ หลังจากวันนั้นแหละ ผมเลยได้คำศัพท์ใหม่ๆ มาเลยล่ะ ผิดเป็นครู :)


"ดามเดอปิ๊ก" (Dame de pique = Q โพธิ์ดำ) ใบโชคร้าย มีค่า -100 คนชอบเล่นเกมจับหมู แต่ไม่อยากเป็นหมู ต่างผวาไม่อยากได้"ดิซเดอแทรฟ" (Dix de Trèfle = 10 ดอกจิก) มีค่า x2 ถ้าบวกในมือ ก็ดีไป แต่ถ้าตัวเรามีลบอยู่แล้ว ยิ่งแย่ใหญ่ครับ"วาลเล่ท์เดอการ์โคร" (Valet de carreau = J หลามตัด) มีค่า +100 นี่ล่ะ โชคช่วย เปลี่ยนจากร้ายกลายเป็นดี

คราวนี้มาเจอกันอีกครั้ง กับหัวข้อ "ไพ่หลายสำรับ คำศัพท์และการสับ(ไพ่)แบบฝรั่งเศส" ซึ่งกระผมจะแบ่ง


เป็น 2 ภาค คือ 1) คำศัพท์และการสับไพ่แบบฝรั่งเศส และ 2) ไพ่หลายสำรับ (ซึ่งเรื่องจะตามมาติดๆในไม่


ช้า) เพราะว่าเขียนไป เขียนมาชักจะยาว เป็นหางว่าวครับ ฮ่าๆ ไม่ชักช้านะ ขอเล่าภาคแรกก่อนเลย ภาค



แรก :- คำศัพท์และการสับไพ่แบบฝรั่งเศส แทรฟ การ์โคร่ เกอ ปิ๊ก เอ๊ะ! ไม่รู้จัก คำอะไร อ่านแล้วงงๆ .....


เป็นเรื่องปกติเนอะ วาลเล่ท์ พิโอ้ช ฮื้ม! วัลลี พินอคคีโอ มาเกี่ยวข้องอะไรกับหัวข้อนี้ด้วยเนาะ ไม่รู้จักอีก


แล้ว งงจริงๆ .....ก็เป็นเรื่องปกติเนอะ สับไพ่ : คนไทยสับไพ่หน้าคว่ำ คนฝรั่ง(เศส)สับไพ่ตั้งฉาก.....เอ๊ะ เป็น


เรื่องปกติหรือเปล่าหนอ สำหรับเพื่อนๆที่เมืองไทยอาจจะไม่คุ้นตา แต่สำหรับเพื่อนๆที่อยู่ฝรั่งเศส คงมีบาง


ส่วนบอกว่า ฉันเห็นๆ ยกมือๆ ข้อนี้รู้ๆ เย่! แต่พวกเราคนไทยไม่ว่าจะอยู่เมืองไทยหรือฝรั่งเศส ต่างต้องมี ข้อ


สงสัยกันแน่เชียวว่า ทำไมต้องสับด้วยท่าทางแปลกๆแบบนั้นเนอะ ไม่เหมือนเรา แล้วจะจับถนัด หรือเปล่านี่


เพื่อนๆเคยมั๊ย...ที่ไ่ปตัดผมมาใหม่ๆ แล้ว...เด๋อ บั่นทอนความมั่นใจแทบไม่เหลือ ใครเห็น ใครก็ล้อ เมื่อเป็น


เรื่อง ปกติฉันใด เรื่องคนไทยสับไพ่หน้าคว่ำ คนฝรั่ง(เศส)สับไพ่ตั้งฉาก ก็เป็นจริงฉันนั้น มาลองดูท่าจับและ


ท่าสับกันดีกว่า :D ว่าจับแบบไหน น่าสนใจกว่ากัน ฮิๆ


ขอขอบคุณ นาย Baquett และ http://www.storiesfromfranc.com/ เป็นอย่างสูง

Tarte à l'oignon


ช่วงปิดเทอมวันคริสต์มาสต์และปีใหม่ประมาณสองสัปดาห์นี้ ถ้าใครไม่ได้มีโปรแกรมอะไร จะทราบดีว่า



วันนี้จะมาบอกวิธีทำ tarte à l’oignonเริ่มที่ส่วนผสมของแป้ง (ทำแป้งเอง ถ้าใครไม่อยากทำก็ซื้อแป้งสำเร็จ


ได้แต่ทำเองก็ง่ายนะครับ)ส่วนผสมแป้งก็มี 200 g de farine de blé100 g de beurreเกลือครึ่งช้อนกาแฟ


น้ำต้มสุกครึ่งถ้วยส่วนผสมที่ทำหน้าหอมหัวใหญ่ขนาดหัวใหญ่ๆหน่อย 1 หัวหมูบด หรือ lardon หรือ


jambon ก็ได้แล้วแต่ชอบ (ถ้าใช้ lardon คงต้องล้างน้ำหน่อยนะครับ เพราะไม่งั้นมันจะเค็มสักร้อยกรัมหรือ


มากน้อยแล้วแต่ชอบ หรือไม่ใส่ก็ได้นะครับ)ใข่ไก่ 3 ฟองCrème fraîche liquide หนึ่งกระป๋องเล็กน้ำมัน


มะกอก เกลือนิดหน่อยวิธีผสมแป้งเทแป้งใส่ถ้วยขนาดใหญ่ๆแล้วนำเนยแข็งใส่ลงไปคลุกให้เข้ากันผสมน้ำ


ต้มสุกและเกลือลงไปนวดแป้งให้เข้ากันจนเป็นเนื้อเดี๋ยวกันแล้วนำไปแผ่ใส่ถาดอบขนมเค้กโดยทาเนยที่ก้น


ถาดเพื่อไม่ให้ติดก้นถาดตอนไปส่วนผสมของหน้า เอาน้ำมันมะกอกเทใส่กระทะแล้วหั่นหอมหัวใหญ่ไส่ลง


ไป พร้อมหมูบดหรือ lardon หรือ jambon ที่เตรียมไว้ทิ้งไว้บนเตาร้อนๆสักสิบนาที ค่อยคนอย่าให้ไหม้นะ


ครับตีใข่ใส่ชามพร้อมกับใส่ Crème fraîche liquide ลงไปตีให้เข้ากันจากนั้นใส่หอมหัวใหญ่ที่ผัดไว้ลงไปตี


ต่อให้เข้ากันใส่เกลือนิดหน่อยเมื่อได้หน้าแล้วเอามาเทใส่ถาดที่เตรียมแป้งไว้เอาเข้าเตาอบใช้ไฟ 180


องศา อบประมาณยี่สิบนาทีพอใกล้จะสุกเอาออกมา โรยหน้าด้วย fromage rapéเอาเข้าไปอบต่อ คอย


สังเกตดูอย่าให้ไหม้ ใช้เวลาประมาณสิบห้านาทีหน้าตาที่ได้ก็จะประมาณในรูปข้างล่างส่วนรสชาติใครอยาก


รู้เชิญมาชิมได้ด้วยตัวเอง หรือจะลองทำทานกันเองยามเหงา ก็ได้นะครับขอให้อร่อยนะคร๊าบ


โดย คุณขุนโมก ขอขอบคุณเป็นอย่างสูง

Expression idiomatique:: J'en ai rien a` cirer

พักนี้ดูหนัง hollywood บ่อย แล้วได้ยินสำนวนนี้บ่อยมาก เลยเอามาฝากกัน
J'en ai rien a` cirer แปลประมาณว่า ฉันไม่สนใจ พอดีพยายามจะหาอะไร ที่มันดูมีหลักมีการมาเสริมสักหน่อยน่ะค่ะ555+

ขอขอบคุณ http://nathalieetstephane.free.fr/culturefr/expressions.php และ www.thaigenoble.com เป็นอย่างสูงค่ะ

เรื่องน่ารู้ในฝรั่งเศส จากนาย Baguette


" เธอชอบกิน Fromage มั๊ย ? " เสียงหนึ่งดังขึ้นข้างๆหู ขณะกำลังนั่งจิบกาแฟตอนพักกลางวันหลังจากอิ่ม
กับมื้อเที่ยงแล้ว" ชอบสิ แต่กลิ่นต้องไม่แรงมากนะ แบบแค่เปิดห่อแล้วโชยไปสามบ้านแปดบ้าน หรือแบบรา
เขียวๆแบบนั้น ฉันไม่ชอบเลยล่ะ " โอ้..ลา..ล่า! ผมเผลอตอบออกมา ยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่าเสียงถามนั้นมาจาก
ไหน พระเจ้าช่วยกล้วยทอด!! " ดั๊กกอ! D'accord ฉันมีเมนูใหม่มาเสนอเธอล่ะ ชื่อว่า Raclette " มีเสียง
ตอบกลับระคนดีใจ เขาไม่ใช่ใครที่ไหน ก็เพื่อนชาวฝรั่งเศสใจดีคนเดิมของผมแหละครับ หลังจากผมตก
ปากรับคำแล้ว เขาก็ชวนผมไปที่บ้าน วันนี้จะทำ Raclette กินกันครับ บอกว่าอากาศหนาวๆแบบนี้ เมนูนี้
รับรองกินแล้วจะอุ๊นอุ่น แถมชีสชนิดนี้ไม่เี่ลี่ยน รับรองว่ากินได้แน่นอน งานนี้ผมก็ี้ไม่ปฏิเสธอยู่แล้ว
Raclette (คาแคล็ท) เป็นอาหารประจำฤดูหนาวของแคว้น Savoie แถบเทือกเขาแอลป์ ในฝรั่งเศส และสวิส
ทำจากชีสพิเศษคาแคล็ทละลายนุ่มๆ แล้วเอามา "racler" (ตามศัพท์ภาษาฝรั่งเศสที่ตรงกับ to scrape ใน
ภาษาอังกฤษ แปลว่าขูด) รับประทานกับมันฝรั่งต้ม เนื้อแห้ง ประเภทแฮมดิบ, เบคอน, Chorizo อิตาีลี,
pavé, coppa และมีเครื่องเคียง คือ แตงดอง หอมใหญ่และสลัด (*Raclette (คาแคล็ท) เขียนคำอ่านให้
ตรงกับที่ออกเสียงจริงๆยากนิดหน่อย เอาเป็นว่าอ่่านประมาณนี้แล้วกันนะครับ)
ขอขอบคุณ www.thaigrenoble.com มากค่ะสำหรับบทความที่ให้สาระและความรู้

Mode (habillement)


La mode, et plus précisément la mode vestimentaire, désigne la manière de se vêtir, conformément au goût d'une époque dans une région donnée. C'est un phénomène impliquant le collectif via la société, le regard qu'elle renvoit et les codes qu'elle impose, et le goût individuel.
La mode concerne non seulement le vêtement mais aussi les accessoires, le maquillage, le parfum et même les modifications corporelles. Aujourd'hui c'est davantage une question de style : la mode permet d'afficher son rang social, son groupe social, son pouvoir d'achat, et sa personnalité.


L'une de ses caractéristiques vient de son changement incessant, incitant par là même à renouveler le vêtement avant que celui-ci ne soit usé ou inadapté.
Par ailleurs, il convient de noter que le port de tel ou tel vêtement, de tel ou tel accessoire, peut devenir « à la mode » après qu'un top-model ou une personnalité people l'a porté. C'est ainsi que sont devenues « à la mode » de nombreuses façons de se vêtir : par exemple, le sac conçu par la société Hermès, qui une fois porté par la princesse Grace Kelly est devenu très à la mode sous le nom de « sac Kelly ».



Historique

La notion de mode dépasse la nécessité de se vêtir et le phénomène de la mode a longtemps été le privilège de l'aristocratie à la Cour et des classes aisées imitant les modes de la Cour avant de se populariser et de devenir un phénomène de masses. Ainsi le terme apparaît en 1482 et désigne les changements dans les détails du vêtement réservé à l'élite et l'expression « la nouvelle mode » devient dès 1549 « être à la mode ».[1]
Au XVIe siècle, apparaissent les premiers journaux de mode et les « poupée de France », des figurines habilés que s'échangent entre les dames pour faire connaître la mode.Au début du XIXe siècle apparaissent les premiers magasins de vêtements à prix réduit.
On peut commencer à parler d'histoire de la mode et l'analyser à partir du XIXe siècle avec le créateur Charles Frédéric Worth qui eut le premier l'idée vers 1858 de faire défiler ses modèles sur de vraies femmes (alors appelées sosies) dans des salons où les clientes venaient choisir.
Auparavant on peut parler de modes portées à la Cour et de costumes régionaux, mais ceci appartient à l'Histoire du costume et se compte en siècles alors que la mode s'évalue en décennies. L'homme cependant, dès la préhistoire a aimé s'orner. Et si le vêtement fait son apparition pour se garantir des intempéries dans les climats froids, les populations des climats tempérés ou chauds ont toujours aimé s'orner de pagnes végétaux, plumes et breloques de toutes sortes, il n'entrait pas là de raison purement fonctionnelle ; le narcissisme et la séduction avaient déjà leur part.
Le vêtement, lui, est apparu pour des raisons fonctionnelles : se protéger des intempéries et protéger son corps du regard des autres. Puis au fur et à mesure, il a été étoffé, décoré, et accompagné d'accessoires. On va commencer à porter des bijoux, à se maquiller et à se parfumer ; c'est à ce moment qu'on ne parle plus seulement de vêtement, qui a d'abord un but fonctionnel, mais de mode, qui a des fins plus séductrices.
L'essor de la mode est lié à plusieurs facteurs dont la production en série, la naissance d'une couche moyenne habitant les villes et sa diffusion dans la presse.
La mode est associée à un ensemble de phénomènes créatifs, médiatiques, industriels et commerciaux, ce qui en fait un élément complexe de la société. Elle peut être considérée comme un réflexe social et culturel. En effet, avec le développement des moyens de communications et de transports, pratiquement toutes les créations dans le domaine de l'habillement sont accessibles à la majorité des gens, tous groupes confondus.La mode peut être vue sous un angle strictement d'expression artistique ou artisanale, et aussi comme outil économique de développement, par exemple à travers ses filières textile et fabrication, souvent peu ou mal évoquées.Depuis le milieu du XXe siècle, la mode s'est petit à petit construit une image de phénomène de société incontournable. Les couturiers, tel Paul Poiret au début du siècle évoqué, puis Madeleine Vionnet, Cristobal Balenciaga, Christian Dior,Yves Saint Laurent, Hubert de Givenchy, Pierre Cardin et Gabrielle Chanel ou André Courrèges,Nina Ricci et, plus récemment, Thierry Mugler, Giorgio Armani, Gianni Versace, Christian Lacroix, Helmut Lang ou Miuccia Prada et Tom Ford sont devenus des personnages publics. Ils sont devenus des créateurs de tendances pour les grands noms de la distribution internationale. Leur rôle est ainsi devenu plus proche du public consommateur ordinaire. Le paradoxe restant que leur notoriété grandissante les classe parmi les célébrités, people ou stars des magazines, soit du secteur soit encore des médias tel que la télévision ou le cinéma.



คำศัพท์ในบทนี้

1.v.depasser=เลยขึ้นไป แซง ผ่านขึ้นไป
2.vêtir=แต่งตัว(ให้) (จัดเครื่อง)นุ่งห่ม
3.phénoméne=ปรากฏการณ์ สิ่งที่ดีน่าประหลาด

Unison (album)


ก่อนที่เธอจะย่างก้าวเข้ามาในวงการเพลงสากล เซลีน ดิออน ก็ได้สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากในตลาดเพลงฝรั่งเศส เธอได้ออกอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสมาทั้งหมด 14 อัลบั้ม - 11 อัลบั้มในแคนาดา และ 3 อัลบั้มในฝรั่งเศส และเธอก็ได้รับรางวัลจำนวนมากมาย ประกอบไปด้วย 15 Félix Awards, 2 รางวัลจากการประกวดร้องเพลงในงาน Yamaha Music Festival และ รางวัลจากการประกวดร้องเพลงในงาน Eurovision Song Contest เซลีนยังได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำและทองคำขาวจากอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสของเธอ (4 แผ่นเสียงทองคำ, 3 แผ่นเสียงทองคำขาว) และจากซิงเกิ้ลของเธอ (3 แผ่นเสียงทองคำ) เธอประสบความสำเร็จอย่างมากจากการเป็นนักร้องในวงการเพลงฝรั่งเศส แต่ในประเทศอื่นๆ ที่ไม่มีตลาดเพลงฝรั่งเศส เธอยังคงเป็นเด็กสาวนิรนามอยู่
ในปี ค.ศ.1985 เซลีน ดิออน ได้ทำเพลงภาษาอังกฤษเพลงแรกของเธอ ชื่อเพลงว่า "Listen to the Magic Man" สำหรับประกอบหนังเรื่อง The Peanut Butter Solution และภายในปีเดียวกัน เธอยังได้นำอัลบั้มบันทึกการแสดงสดออกวางจำหน่าย ชื่อว่า “Céline Dion en Concert” ภายในอัลบั้มยังบรรจุเพลงภาษาอังกฤษที่เธอได้ร้องในคอนเสิร์ตไว้ ก็คือเพลง "Up Where We Belong" "Over the Rainbow" และ "What a Feeling"
ในปี 1989 ซิงเกิ้ลภาษาอังกฤษชุดที่ 2 ของเธอได้วางแผงในแคนาดา ชื่อเพลงว่า "Can't Live With You, Can't Live Without You" ซึ่งร้องคู่กับ Billy Newton-Davis และเธอยังได้อัดเพลง "Listen to Me" คู่กับ Warren Wiebe เพื่อใช้เป็นเพลงหลักของหนังที่ Kirk Cameron แสดงนำ และในปีเดียวกัน เธอก็ได้อัดเพลงคู่ภาษาอังกฤษเพลงที่ 3 ของเธอ "Wishful Thinking" ซึ่งร้องคู่กับ Dan Hill

ปรากฏการณ์โลกร้อน

ปรากฏการณ์โลกร้อน (อังกฤษ: global warming)
ปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกและผืนมหาสมุทรสูงขึ้น โดยมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ เป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ.
สาเหตุ
มหันตภัยร้ายที่กำลังคุกคามโลกอยู่ขณะนี้ คือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ ปริมาณมหาศาลที่มนุษย์เป็นผู้ก่อ ถูกปล่อยออกมาสู่ชั้นบรรยากาศโลกหนาขึ้นเท่าไร ก็จะเป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ ก็จะส่งผลให้อุณหภูมิของบรรยากาศโลก สูงขึ้นจนถึงระดับอันตรายผืนน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือและธารน้ำแข็งบนภูเขาทั้งหมดทั่วโลกค่อยๆ ละลายลงเรื่อยๆ และอาจจะทำให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นถึง 20 ฟุต
ผลกระทบ และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะตามมา
1. ต่อสภาพภูมิอากาศ
สภาพอากาศแปรปรวนมากยิ่งขึ้น
ความชื้นในอากาศเพิ่มมากขึ้นเนื่องด้วยการระเหยของน้ำที่มากขึ้น
ความไม่มั่นคงของอุณหภูมิ
2.ต่อทะเลและมหาสมุทร
ธารน้ำแข็งและน้ำแข็งตามทั่วโลกละลาย
น้ำทะเลสูงขึ้น
อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรสูงขึ้น
การเปลี่ยนสภาวะของน้ำเป็นกรด
การหยุดไหลของกระแสน้ำอุ่น

3. ต่อมนุษย์
เกิดการขาดแคลนน้ำดื่ม
เกิดการอพยพย้ายที่อยู่อาศัยเนื่องจากโดนน้ำท่วม
เกิดโรคร้ายเพิ่มขึ้น
การแก้ปัญหา

1.ใช้อุปกรณ์ที่มีคุณภาพไม่กินไฟ
2.ใช้หลอดไฟ LED ช่วยประหยัดพลังงานได้ 40%
3.ใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า
4.ควบคุมการเกิดของประชากรที่เพิมขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ต้องใช้พลังงานมาขึ้น
5.แยกขยะ นำของเก่ามาใช้ใหม่ได้
6.ใช้รถยนต์ประหยัดพลังงาน

Réchauffement climatique


Le réchauffement climatique, également appelé réchauffement planétaire ou, par anglicisme, réchauffement global (de l'anglais global warming), est un phénomène d'augmentation, à l'échelle mondiale et sur plusieurs années, de la température moyenne des océans et de l'atmosphère. Dans son acception commune, ce terme est appliqué au changement climatique observé depuis environ vingt-cinq ans, c'est-à-dire depuis la fin du XXe siècle.
L'existence du réchauffement est appuyée par les rapports scientifiques du GIEC rédigés par plus de 600 climatologues[4] provenant de tous les pays et validés par les gouvernements de tous les pays[5]. Ceci n'est absolument plus contesté dans les revues scientifiques.
Les causes du réchauffement sont attribuables essentiellement à l'activité humaine et en particulier à ses émissions de gaz à effet de serre. Seule une petite minorité de scientifiques, qui ne sont souvent pas des climatologues, contestait encore ceci avant le rapport AR4 du GIEC.
Le rapport AR4 de février 2007 du GIEC indique que les effets comportent entre autre une augmentation des sécheresses, pluies torrentielles, élévation du niveau des océans, canicules, cyclones violents. Le CO2 émis aujourd'hui par l'homme contribuera au réchauffement pendant plus d'un millénaire. La concentration atmosphérique du CO2 en 2005 dépassait de loin les valeurs naturelles des derniers 650 000 ans. De même pour la concentration du méthane.
Suite au rapport AR4 du GIEC, approuvé par tous les pays dont les États-Unis, 46 pays se sont engagés à lutter contre les pays qui ne réduiraient pas leurs émissions de gaz à effet de serre. Les pays principalement visés sont les États-Unis, la Russie, l'Inde et la Chine.
Selon les conclusions du Groupe d'experts intergouvernemental sur l'évolution du climat (GIEC) dans son rapport de 2001[6], la cause la plus probable de ce réchauffement dans la seconde moitié du XXe siècle serait le « forçage anthropique », c'est-à-dire l'augmentation dans l'atmosphère des gaz à effet de serre résultant de l'activité humaine. Il est prévu que le réchauffement planétaire se poursuive au cours du XXIe siècle mais l'amplitude de ce réchauffement est débattue. Selon les hypothèses retenues et les modèles employés, les prévisions pour les 50 années à venir vont de 1,8 à 3,4 °C.
L'hypothèse d'un lien entre la température moyenne du globe et le taux de gaz carbonique dans l'atmosphère a été formulée pour la première fois en 1894 par Svante Arrhenius. En 1979, lors de la première conférence mondiale sur le climat, est avancée pour la première fois sur la scène internationale l'éventualité d’un impact de l'activité humaine sur le climat. L'adhésion assez massive de certains scientifiques à cette cause est récente, mais une controverse existe dans ce milieu quant aux causes de ce réchauffement. Des climatologues soutiennent en effet que le réchauffement observé n'est que la conséquence de phénomènes naturels (telles que les fluctuations de l'activité solaire et celles de l’orbite terrestre). Cette position est cependant fortement minoritaire parmi les climatologues.

เลโอนาร์โด ดา วินชี


เลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 1995 (ค.ศ. 1452) - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2062 (ค.ศ. 1519)) เป็นอัจฉริยบุคคลที่มีความสามารถหลากหลาย เป็นทั้ง สถาปนิกแบบเรอเนซองส์ นักดนตรี นักกายวิภาค นักประดิษฐ์ วิศวกร ประติมากร นักเรขาคณิต นักวาดภาพ. ดา วินชี มีงานศิลปะที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น เช่น พระกระยาหารค่ำมื้อสุดท้าย (The Last Supper) และ โมนา ลิซ่า (Mona Lisa) งานของ ดา วินชี ยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ รวมถึงวิศวกรรมโยธา ด้วยความที่เป็นบุรุษที่มีจิตวิญญาณที่รักในศาสตร์หลายแขนง เลโอนาร์โดทำให้เกิดจิตวิญญาณของสหวิทยาการในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นบุคคลสำคัญของยุคนั้น



เลโอนาร์โด เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน โดยที่ๆเขาเกิดอยู่ห่างจากหมู่บ้านวินชี ในประเทศอิตาลี ไปราวสองกิโลเมตร บิดาชื่อนายแซร์ ปีเอโร ดา วินชี เป็นเจ้าพนักงานรับรองเอกสารของรัฐ มารดาชื่อคาตารีนา เป็นสาวชาวนา เคยมีคนอ้างว่านางคาตารีนาเป็นทาสสาวจากประเทศแถบตะวันออกในครอบครองของปีเอโร แต่ก็ไม่มีหลักฐานเด่นชัด
ในสมัยนั้นยังไม่มีมาตรฐานการเรียกชื่อและนามสกุลที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในทวีปยุโรป ทำให้ชื่อและนามสกุลของดา วินชี ที่แท้จริงคือ เลโอนาร์โด ดิ แซร์ ปีเอโร ดา วินชี ซึ่งหมายความว่า เลโอนาร์โด บุตรชายของปีเอโร แห่ง วินชี แต่เลโอนาร์โดเองก็มักจะลงลายเซ็นในงานของเขาอย่างง่ายๆว่า เลโอนาร์โด หรือไม่ก็ ข้าเอง เลโอนาร์โด เอกสารสำคัญส่วนใหญ่ระบุว่าผลงานของเขาเป็นของ เลโอนาร์โด โดยไม่มี ดา วินชี พ่วงท้าย ทำให้เข้าใจได้ว่าเขาไม่ได้ใช้นามสกุลของบิดาเนื่องจากเป็นบุตรนอกสมรสนั่นเอง

Léonard de Vinci

Léonard de Vinci (Leonardo di ser Piero da Vinci) peintre, sculpteur, orfèvre, musicien, architecte, physicien, astronome, savant, géologue, géomètre, anatomiste, botaniste, alchimiste, inventeur visionnaire, ingénieur mécanicien et militaire, horloger, urbaniste, et homme de science de génie italien multidisciplinaire et ultra prolifique (Vinci, 15 avril 1452 - Amboise, 2 mai 1519).

Léonard de Vinci autoportrait à environ 60 ans

Léonard de Vinci
Homme d'esprit universel, à la fois artiste, scientifique, inventeur et philosophe humaniste, Léonard de Vinci incarne l'esprit universaliste de la Renaissance dont il fut un des symboles majeurs et demeure l'un des plus grands hommes de cette époque.

วันแม่แห่งชาติ


วันแม่แห่งชาติ ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยริเริ่มเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2519 โดยคณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จนถึงปัจจุบัน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ ซึ่งมีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย

ความเป็นมาของวันแม่แห่งชาติในประเทศไทย

งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ.สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน
ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

วันแม่ในประเทศต่าง ๆ

ประเทศอื่น ๆ ก็มีการกำหนดวันแม่ไว้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ใช้วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม ประเทศรัสเซียใช้วันที่ 28 พฤศจิกายน และอาทิตย์แรกของเดือนมิถุนายนหรือ อาทิตย์ที่สุดท้ายของเดือนพฤษภาคมเป็นของฝรั่งเศสเป็นต้น

Fête des mères

La fête des mères est une fête annuelle célébrée en l'honneur des mères dans de nombreux pays.


Histoire
La fête des mères trouve ses origines dans l'adoration de la mère qui était pratiquée en Grèce antique. Ce culte païen comportait des cérémonies en l'honneur de Rhéa (ou Cybèle), la Grande mère des dieux. Ce culte était célébré aux Ides de Mars dans toute l'Asie mineure :
La Grèce antique fêtait au printemps la déesse Rhéa, mère de Zeus et de ses frères et sœurs
Une fête religieuse romaine célébrait les matrones le 1er mars, lors des Matronalia
Au XVe siècle, les Anglais fêtaient le Mothering Sunday, d'abord au début du carême puis le quatrième dimanche du printemps
1912 : les États-Unis instaurent le Mother's Day, en souvenir de la mère de l'institutrice Anna Jarvis
1914 : le Royaume-Uni l'adopte à son tour
1932 : l'Allemagne l'officialise
Belgique, Danemark, Finlande, Italie, Turquie, Australie suivent
France
1806 : Napoléon tente de relancer la fécondité et, prône les vertus de la famille lors de fêtes
1918 : Lyon célèbre la Journée des mères en hommage aux mères et aux épouses qui ont perdu leurs fils et leur mari
1929 : le gouvernement officialise cette Journée
1941 : le régime de Vichy inscrit la Fête des mères au calendrier
1950 : la loi n° 50-577 du 24 mai 1950, publiée dans le Journal officiel du 25 mai 1950, fixe la fête des mères au dernier dimanche de mai. Ces dispositions ont été intégrées en 1956 au Code de l'action sociale et des familles. L'article R. 215-1 prévoit que « Chaque année, la République française rend officiellement hommage aux mères, au cours d’une journée consacrée à la célébration de la "Fête des mères" ». L'article D. 215-2 du même code ajoute que « La fête des mères est fixée au dernier dimanche de mai. Si cette date coïncide avec celle de la Pentecôte, la fête des mères a lieu le premier dimanche de juin ».